วันมาฆบูชา (บาลี: มาฆปูชา; อักษรโรมัน: Magha Puja) เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย"มาฆบูชา" ย่อมาจาก "มาฆปูรณมีบูชา" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะ ตามปฏิทินของอินเดีย หรือเดือน 3 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย (ตกช่วงเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคม) ถ้าในปีใดมีเดือนอธิกมาส คือมีเดือน 8 สองหน (ปีอธิกมาส) ก็เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน 3 หลัง (วันเพ็ญเดือน 4)
คุณธรรมจริยธรรม
วันจันทร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา (บาลี: มาฆปูชา; อักษรโรมัน: Magha Puja) เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย"มาฆบูชา" ย่อมาจาก "มาฆปูรณมีบูชา" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะ ตามปฏิทินของอินเดีย หรือเดือน 3 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย (ตกช่วงเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคม) ถ้าในปีใดมีเดือนอธิกมาส คือมีเดือน 8 สองหน (ปีอธิกมาส) ก็เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน 3 หลัง (วันเพ็ญเดือน 4)
วันมาฆบูชา (บาลี: มาฆปูชา; อักษรโรมัน: Magha Puja) เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย"มาฆบูชา" ย่อมาจาก "มาฆปูรณมีบูชา" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะ ตามปฏิทินของอินเดีย หรือเดือน 3 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย (ตกช่วงเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคม) ถ้าในปีใดมีเดือนอธิกมาส คือมีเดือน 8 สองหน (ปีอธิกมาส) ก็เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน 3 หลัง (วันเพ็ญเดือน 4)
วันเสาร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา (วันมาฆบูชา)
วันมาฆบูชา (บาลี: มาฆปูชา; อักษรโรมัน:
Magha Puja) เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย"มาฆบูชา"
ย่อมาจาก "มาฆปูรณมีบูชา" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะ
ตามปฏิทินของอินเดีย หรือเดือน 3 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย
(ตกช่วงเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคม) ถ้าในปีใดมีเดือนอธิกมาส คือมีเดือน 8 สองหน (ปีอธิกมาส) ก็เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน
3 หลัง (วันเพ็ญเดือน 4)
วันพุธที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วัฒนธรรมไทยและการละเล่น(1)
เล่นซ่อนหา หรือ โป้งแปะ
"เล่นซ่อนหา" หรือ "โป้งแปะ" เป็นหนึ่งในการละเล่นพื้นบ้านที่มีมาช้านาน และยังได้รับความนิยมอยู่ทุกยุคทุกสมัย เพราะกติกาง่าย แถมสนุก และต้องมีการกำหนดอาณาเขต เพื่อไม่ให้กว้างจนเกินไป จนถึงวันนี้ก็ยังมีเด็ก ๆ จับกลุ่มกันเล่นซ่อนหาให้เห็นกันอยู่
ประเพณีถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า(2)
ประเพณีถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า
เป็นประเพณีของชาวไทยเชื้อสายเขมรที่บ้านหัวสำโรง อำเภอแปลงยาว
ได้ปฏิบัติสืบต่อกันมานานนับร้อยปี
บนพื้นฐานความเชื่อว่าพุทธศาสนิกชนที่ได้ร่วมถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า
จะได้บุญกุศลอย่างแรงกล้า
ประเพณีลอยเรือ (1)
ความสำคัญ
การลอยเรือ เป็นประเพณีของชาวเล (ชาวน้ำ)
ชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่บริเวณหมู่เกาะอาดัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล เกาะหลีเป๊ะ
เป็นเกาะที่มีชาวเลมากที่สุด ชาวเลเป็นนักดำน้ำที่ไม่ต้องใช้เครื่องมือในการดำน้ำ
สามารถจับปลา กุ้งมังกรด้วยมือเปล่า ดำน้ำลึก ๒๐ วา เพื่อปักไม้ทำโป๊ะ
แข็งแรงทนแดดทนฝน สันนิษฐานว่าชาวเล ได้อพยพมาอยู่ในประเทศไทยหลายร้อยปีมาแล้ว
ยากแก่การสืบทราบ ส่วนชาติพันธุ์ สันนิษฐานว่าเป็นเชื้อชาติมองโกล พวกเดียวกับ
อินเดียแดง จีน พม่า ไทยมลายู อินโดนีเซีย และนิกริโต อาศัยอยู่อย่างอิสระ
ไม่มีหลักแหล่ง มีแบบแผนประเพณีมีภาษาของตนเอง ไม่ชอบคบค้าสมาคมกับผู้อื่น
เดิมชาวเลไม่มีศาสนา เชื่อในผีสางวิญญาณ ประเพณีที่สำคัญ คือ การลอยเรือความเป็นครู
ครู ซึ่งมาจากคำว่า คุรุ แปลว่า หนัก ฉะนั้นแล้ว ครู จึงเป็นผู้หนัก หนักในเรื่องใดบ้าง เช่น หนักในการที่จะสั่งสอนศิษย์ให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ หนักในการที่จะสอนคนหลาย ๆ คนให้เป็นคนที่ดี เป็นบุคคลที่สังคมมีความต้องการ และการที่เราจะสามารถสอนคนเหล่านั้นได้เราจะต้องรู้เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล เหล่านั้นดีพอสมควร เราจึงจะสามารถสอนเขาได้ ซึ่งเข้ากับสุภาษิตจีนที่ว่า “รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง”
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)